สโมสรฟุตบอลโปลิศ เทโร Police Tero Football Club ฉายามังกรโล่เงิน The Silver Shields Dragons ก่อตั้งพ.ศ. 2535 (ค.ศ. 1992; 29 ปีที่แล้ว) สนามบุณยะจินดา ความจุ 3,500 ที่นั่ง โดยปัจจุบันลงทำการแข่งขันอยู่ใน ไทยลีก ต่อมาในช่วงฤดูกาล 2017 ทีมสโมสรฟุตบอล บีอีซี เทโรศาสน ได้เปลี่ยนชื่อสโมสรเป็น “โปลิส เทโร เอฟซี” แต่ติดปัญหาคลับไลเซนซิ่ง เรื่องความเป็นเจ้าของและช่วงเวลาห้ามเปลี่ยนชื่อสโมสร UFA ทำให้ไม่สามารถที่จะใช้ชื่อ “โปลิส เทโร เอฟซี” ในช่วงฤดูกาล 2017 ซึ่งชื่อที่ลงทะเบียนในการแข่งขัน ไทยลีก 2017 และรายการอื่น ๆ ยังคงเป็น “บีอีซี เทโรศาสน” สโมสรใช้คำว่า “POLICE” ติดไว้เหนือโลโก้ที่หน้าอกเสื้อ และเรียกชื่อสโมสร “โปลิส โทโร เอฟซี”
ประวัติทีมสโมสรบีอีซี เทโรศาสน
สโมสร เริ่มก่อตั้ง เมื่อปี พ.ศ. 2535 โดย นายวรวีร์ มะกูดี ในชื่อ โรงเรียนศาสนวิทยา ซึ่งเป็นโรงเรียน ในเขตหนองจอก กรุงเทพฯ และได้เริ่มเข้าแข่งขันใน ฟุตบอลถ้วยพระราชทาน ง ทำผลงานได้ดี จนเลื่อนชั้นขึ้นมาเล่นใน ถ้วย ก
ต่อมา ไทยพรีเมียร์ลีก ได้มีการเปิดตัวขึ้น ทางสโมสรก็ได้รับเงินสนับสนุนจาก บริษัท บุญรอด บริวเวอรี จำกัด ผู้ผลิตเบียร์สิงห์ และ บริษัท เทโร เอ็นเตอร์เทนเมนท์ จำกัด (บจก.เทโร) จึงได้เปลี่ยนชื่อมาเป็น สิงห์-เทโรศาสน ในช่วงปี พ.ศ. 2538
ในปี พ.ศ. 2539 สโมสรได้เลื่อนชั้นขึ้นมาเล่นแทงบอลใน ไทยพรีเมียร์ลีก ฤดูกาล 2539-2540 ซึ่งจบแค่อันดับที่ 12 ของลีก.
ต่อมาในปี พ.ศ. 2540 สโมสรได้การสนับสนุนจาก บริษัท บีอีซี เวิลด์ จำกัด (มหาชน) ได้เข้าซื้อกิจการของ บจก.เทโร และเปลี่ยนชื่อบริษัทเป็น บริษัท บีอีซี-เทโร เอ็นเตอร์เทนเมนท์ จำกัด (มหาชน) จึงเปลี่ยนชื่ออีกครั้งเป็น บีอีซี เทโรศาสนจนถึงปัจจุบัน
ตราสัญลักษณ์สโมสร บีอีซี เทโรศาสน
สนามทีมเหย้า สโมสรบีอีซี เทโรศาสน
สนามบุณยะจินดา เป็นสนามกีฬาอเนกประสงค์ในประเทศไทย ตั้งอยู่ภายในสโมสรตำรวจ เขตหลักสี่, กรุงเทพมหานคร ปัจจุบันใช้เป็นสนามเหย้าของสโมสรฟุตบอล โปลิศ เทโร ทีมในศึกไทยลีก มีความจุ 4,402 ที่นั่ง และเคยเป็นสนามเหย้าของสโมสรฟุตบอลเพื่อนตำรวจ, ลูกอีสาน ยาสูบ, ซีคเคอร์ และราชวิถี มาก่อน ซึ่งสนามฟุตบอลแห่งนี้ตั้งชื่อตามนามสกุลของ พลตำรวจเอกพจน์ บุณยะจินดา อดีต อธิบดีกรมตำรวจ ที่ดำรงตำแหน่งช่วง พ.ศ. 2537—2540
เจ้าของ บีอีซี-เทโร เอ็นเตอร์เทนเม้นท์
- จักรทิพย์ ชัยจินดา
- ประธานสโมสร จักรทิพย์ ชัยจินดา ไบรอัน แอล. มาคาร์
ผู้ฝึกสอน
รังสรรค์ วิวัฒน์ชัยโชค รังสรรค์ วิวัฒน์ชัยโชค มีชื่อเล่นว่า “อ้น” เกิดเมื่อวันที่ 22 มกราคม พ.ศ. 2522 รังสรรค์อายุ 19 ปี ได้ถูกเรียกตัวจากสมาคมฟุตบอลแห่งประเทศไทยฯ เพื่อเล่นทีมชาติรุ่นอายุ 19 ปี ซึ่งรังสรรค์ชอบเล่นฟุตบอลตั้งแต่เด็กและเป็นเด็กที่มีความคล่องตัวสูงและสามารถเล่นได้หลากหลายตำแหน่ง
ปัจจุบันเป็นหัวหน้าผู้ฝึกสอนพนันบอลให้กับสโมสรฟุตบอลโปลิศ เทโร ในไทยลีก เขาเคยเล่นให้กับหลายทีมฟุตบอลชื่อดังในประเทศไทยและประเทศสิงคโปร์ และติดทีมชาติไทยชุดใหญ่ในปี พ.ศ. 2547
รายชื่อนักเตะทีมโปลิศ เทโร เอฟซี หรือบีอีซี เทโร ศาสน ฤดูกาล 2020
เบอร์ | นักเตะ | ตำแหน่ง | สัญชาติ |
18 | กฤษณะ กลั่นกลิ่น | ผู้รักษาประตู | ไทย |
28 | อณิพงษ์ กิจคาม | ผู้รักษาประตู | ไทย |
99 | เฉลิมเกียรติ สมบัติปัน | ผู้รักษาประตู | ไทย |
1 | ประสิทธิ์ ผดุงโชค | ผู้รักษาประตู | ไทย |
39 | สัญชัย นนทศิลา | เซ็นเตอร์แบ็ค | ไทย |
31 | ชมพู แสงโพธิ์ | เซ็นเตอร์แบ็ค | ไทย |
2 | นพพล ปิตะฝ่าย | เซ็นเตอร์แบ็ค | ไทย |
19 | ควอน แด-ฮี | เซ็นเตอร์แบ็ค | เกาหลีใต้ |
4 | เฉลิมศักดิ์ อักขี | เซ็นเตอร์แบ็ค | ไทย |
35 | ไอแซค ฮอนนี่ | เซ็นเตอร์แบ็ค | กานา |
33 | ชุมพล บัวงาม | เซ็นเตอร์แบ็ค | ไทย |
3 | โดมินิค ตัน | เซ็นเตอร์แบ็ค | มาเลเซีย |
5 | เอกชัย สำเร | แบ็คขวา | ไทย |
22 | ปวเรศ อาจวิบูลย์พร | มิดฟิลด์ตัวรับ | ไทย |
20 | สันติธร ลัทธิรมย์ | มิดฟิลด์ตัวกลาง | ไทย |
48 | กนกพล ปุษปาคม | มิดฟิลด์ตัวกลาง | ไทย |
26 | สิทธิโชค ทัศนัย | มิดฟิลด์ตัวกลาง | ไทย |
8 | ณรงค์ จันเสวก | มิดฟิลด์ตัวกลาง | ไทย |
10 | จาตุรงค์ พิมพ์คูณ | ปีกซ้าย | ไทย |
6 | กษิดิศ ซีกฮาร์ท | มิดฟิลด์ตัวรุก | ไทย |
45 | อดิศักดิ์ ศรีกำปัง | ปีกขวา | ไทย |
27 | เดนิส ดาร์เบลลาย | กองหน้า | ไทย |
15 | พิรชัช กุลลประภา | กองหน้า | ไทย |
21 | ธนกร สายโกมล | กองหน้า | ไทย |
11 | สุพจน์ จดจำ | กองหน้าตัวเป้า | ไทย |
23 | ยศศักดิ์ เชาวนะ | กองหน้าตัวเป้า | ไทย |
17 | นัฐวุฒิ มูลสุวรรณ | กองหน้าตัวเป้า | ไทย |
9 | กีรติ เขียวสมบัติ | กองหน้าตัวเป้า | ไทย |
14 | ธีรเทพ วิโนทัย | กองหน้าตัวเป้า | ไทย |
22 | ดราแกน บอสโควิช | กองหน้าตัวเป้า | มอนเตเนโกร |
29 | อาทิตย์ บุตรจินดา | กองหน้าตัวเป้า | ไทย |
– | ติอาโก้ ชูลาปา | กองหน้าตัวเป้า | บราซิล |
ผลงานสโมสร บีอีซี เทโร ศาสน
การแข่งขันในประเทศ
ไทยลีก
1 ชนะเลิศ (2) : 2543 , 2544/45
2 รองชนะเลิศ (2) : 2545/46 , 2546/47
ไทยลีก 2
2 รองชนะเลิศ (1) : 2562
ถ้วย
ไทยเอฟเอคัพ รองชนะเลิศ (1) : 2552
โตโยต้า ลีกคัพ ชนะเลิศ (1) : 2557
ถ้วยพระราชทาน ก.
ชนะเลิศ (1) : 2543
รองชนะเลิศ (2) : 2545 , 2547
ควีนสคัพ
รองชนะเลิศ (1) : 2552
โตโยต้า พรีเมียร์คัพ ชนะเลิศ (1) : 2558
การแข่งขันในต่างประเทศ
เอเชีย
เอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก รองชนะเลิศ (1): 2545/46
อาเซียน
อาเซียนคลับแชมเปียนชิพ รองชนะเลิศ (1): 2546
ระดับเยาวชน
เยาวชนควีนสคัพ ชนะเลิศ (2) : 2546, 2547[18]
ไทยเอฟเอ ยูธคัพ ชนะเลิศ (1) : 2555[19]
0 Shared
0 Pined
0 Shared
0 Shared